[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
เมนูหลัก
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 3 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ฝากข้อความ
ชื่อ :
ข้อความ (ตัวแสดงอารมณ์)
poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก

  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
การเลือกใช้ประตูอัตโนมัติ หรือประตูออโต้  VIEW : 1965    
โดย ครูคอน

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 1
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 1
Exp : 20%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 183.88.96.xxx

 
เมื่อ : จันทร์ ที่ 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2559 เวลา 16:32:52   

การเลือกใช้ประตูอัตโนมัติ หรือประตูออโต้

ประตูออโต้

เราจะทราบกันดีอยู่แล้วว่า ประตูออโต้ หรือประตูอัตโนมัติ เหตุผลที่เลือกติดตั้งเพื่ออำนวยความสะดวกแล้ว นอกจากนั้นยังมีประโยชน์อื่นอีก เช่น หากขับรถเข้าบ้าน เมื่อฝนตกไม่จำเป็นต้องตากฝน ลงไปเปิดประตูเอง โดมาจากการควบคุมสัญญาณระยะไกล รีโมทคอนโทรล หรือระบบเซนต์เซอร์อัตโนมัติ  อีกอย่างเพื่อเหลี่ยงต่อการโดนขโมยขึ้นบ้าน เพราะประตูอัตโนมัติมีระบบรักษาความปลอดภัย หรือระบบนิรภัยอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ตามเราควรเลือกใช้ประตูออโต้ หรือประตูอัตโนมัติให้เหมาะสมกับแต่ละสถานที่

การคำนวณน้ำหนัก ประตูออโต้เพื่อขนาดมอเตอร์

เราสามารถคำนวณขนาดของมอเตอร์ที่จะรับน้ำหนักประตูนั้นได้จาก "ความยาวของประตูรั้วส่วนที่เลื่อน(เมตร) x น้ำหนักประตูรั้ว(กิโลกรัม) = ขนาดของมอเตอร์ที่ใช้ (กิโลกรัม) " ด้วยน้ำหนักของประตูที่หนักมาก ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก จึงต้องมีการปรึกษาผู้ชำนาญ หรือช่างที่มีประสบการณ์ ซึ่งไม่แนะนำให้ติดตั้งเอง และสำหรับบ้านเก่าที่มีรั้วอยู่แล้วควรพิจารณารุ่นประตูออโต้ หรือประตูอัตโนมัติที่ติดตั้งง่าย โดยเลือกรุ่นที่มีชุดควบคุมบิลท์อินในมอเตอร์ ส่วนราคามอเตอร์ แบบบานเลื่อนราคาไม่สูงนัก แต่บานสวิงมีราคาที่แพงกว่า เพราะต้องใช้มอเตอร์ถึง 2 ชุด

การกำหนดตามขั้นตอนการคำนวณน้ำหนักประตูออโต้

1. การกำหนดน้ำหนักประตูเปล่าจากชนิดของประตูออโต้ หรือประตูอัตโนมัติ ซึ่งเป็นน้ำหนักโดยประมาณ ( ใช้ค่าเฉลี่ยความสูงประตู 2 เมตร )

  • ประตูอัลลอยด์ น้ำหนักประมาณ 180 กก./ม.
  • ประตูเหล็กกล่อง น้ำหนักประมาณ 80 กก./ม.
  • ประตูเหล็ก+ไม้ น้ำหนักประมาณ 160 กก./ม.
  • ประตูสแตนเลส น้ำหนักประมาณ 60 กก./ม.
  • ประตูสแตนเลส น้ำหนักประมาณ 140 กก./ม.> ตูเปล่าจะหนัก 640 กก.

     

    2. การกำหนดค่าความฝืด ( Friction Factor ) ของประตูซึ่งมักจะเกิดจากแนวรางที่คด ล้อประคองที่เสา ลูกปืนล้อที่แตก สนิม ฯลฯ

    ตัวอย่าง…ประตูเหล็ก+ไม้ ขนาดความกว้าง 4 ม. ดังนั้นประ

    • ประตูใหม่ ค่าความฝืด 1.25
    • ประตูเก่า ค่าความฝืด 1.5

    ตัวอย่าง …บ้านที่มีประตูใหม่วิธีคำนวณ…ให้นำน้ำหนักประตูเปล่าข้อ 1. มาคูณกับค่าความฝืดข้อ 2.ได้ 640 x 1.25 = 800 กก.

     

    หนวยงานวิศวกรรมทางเทคโนโลยีอาคาร ร่วมพัฒนาเทคโนโลยีภายในประเทศ อาทิเช่น ประตูอัตโนมัติ ประตูออโต้ ให้ก้าวไกล
    โดย กรมพัฒนาเทคโนโลยี อำบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์